ความรู้เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตย์
ไฟฟ้าสถิตย์ คือ
จะเห็นได้ว่า ทุกวันนี้แทบจะทุกอุตสาหกรรมจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าสถิตย์ เพื่อแก้ปัญหา และลดของเสีย ของชิ้นงาน ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมอิเล็คทรอนิกส์, ยา, อาหาร, พลาสติก, ฟิล์ม, และอื่นๆ อีกมากมาย
ESD ย่อมาจากคำว่า Electrostatic Discharged ซึ่งเกิดจากคำสองซึ่งถ้าแปลเป็นภาษาไทยคือ
ESD คือ
• Electrostatic คือ ไฟฟ้าสถิตย์
• Discharged คือ การถ่ายเทประจุ
ทำไมต้องใช้เครื่องทำลายไฟฟ้าสถิตย์ มีอยู่หลายปัจจัยด้วยกัน
• ถ้าเป็นอุตสาหกรรม ฟิล์ม, พ่นสี, Automotive, เนื่องจากชิ้นงานส่วนใหญ่เป็นพลาสติก หรือเป็นฉนวน ซึ่งไม่สามารถ Discharge ประจุ ได้ด้วยตัวมันเอง เมื่อมีไฟฟ้าสถิตย์ก็ย่อมมีแรงดึงดูด ทำให้ฝุ่นเข้ามาเกาะที่ชิ้นงานได้มากกว่าปกติ เราจึงจำเป็นต้องนำอุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าสถิตย์มาแก้ไขปัญหา เพื่อให้งานเสียลดน้อยลงที่สุด (NG) เพื่อลดปัญหาเรื่องฝุ่นเกาะที่ชิ้นงาน
• ถ้าเป็นอุตสาหกรรมอิเล็คทรอนิกส์ หรือ Semi Conductor แทบจะทุกรายการผลิตต้องใช้ อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าสถิตย์ เนื่องจากชิ้นงาน Semi Conductor นี้ค่อนข้าง Sensitive ต่อ การเกิด ESD
• ณ ปัจจุบันนี้ ตัวอุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าสถิตย์ เหมือนเป็นอุปกรณ์ที่อุตสาหกรรม ฟิล์ม, พลาสติก, อิเล็คทรอนิกส์ จำเป็นต้องมี อาทิ เช่น ภาพลักษณ์, ติดกัน Audit, แต่เหนือสิ่งใดคนที่ติด อยากลดงานเสียที่เกิดขึ้นมากกว่า เมื่องานเสียเราน้อยลง หรือ NG = 0 ภาพลักษณ์ของบริษัทก็จะตามมา
* ยกเพียงปัจจัยบางส่วน
ไฟฟ้าสถิตย์เกิดได้หลายสาเหตุ
• การเหนี่ยวนำ
• การเสียดสี หรือการขัดสี
• อื่นๆ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับไฟฟ้าสถิตย์
• บนพื้นผิวมีค่า ประจุบวกและประจุลบไม่เท่ากัน
• เราไม่สามารถป้องกันไฟฟ้าสถิตได้ แต่เราสามารถควบคุมมันได้
• อื่นๆ
Note! จะเห็นได้ว่า ESD จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีการถ่ายเทประจุ ซึ่งก็หมายความว่า วัตถุนั้นมีการแตะหรือสัมผัสกัน เราจึงมักจะเห็นป้ายเตือนต่างๆ ที่เห็นบ่อยสุดก็ะเป็นรูปมือว่า อ๊ะๆ จะแต่นะ!!! ดังรูปตัวอย่าง
อาการ Zapp คืออะไร
• ก็คือการถ่ายเทประจุอย่างรวดเร็ว ซึ่งคำว่า ”รวดเร็ว” ก็บอกอยู่แล้วคือใช้เวลาอันน้อยนิด
แล้วมันเกิดผลเสียอะไรกับชิ้นงานหละ??
• ชิ้นงานอาจจะเสียได้
• อายุการใช้งานอาจจะสั้นลง
เฉดสีและเนื้อผ้าผ้ากันไไฟ้าสถิตย์นวัตกรรมญี่ปุ่น คลิ๊ก
ผลงานของบริษัทฯ คลิ๊ก
ติดต่อฝ่ายขาย คลิ๊ก